1xbet casino download

Cloud Carbon Footprint ช่วยลดมลภาวะจากการใช้คลาวด์

เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน แต่ก็ได้สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก หากมองอีกมุมหนึ่ง เราก็สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อลดปัญหาการปล่อยคาร์บอนลงได้เช่นกัน

นักวิจัย มจธ. พบเทคนิคจัดการขยะอาหารเป็น ‘ไบโอชาร์’ เปลี่ยนของเสียชุมชนเป็นพลังงานทดแทน

ปัญหาขยะอาหาร (Food Waste) เป็นปัญหาที่ทั่วโลกกำลังจับตามองเพราะในปี 2562 พบว่าทั่วโลกมีปริมาณอาหารขยะมากกว่า 931 ล้านตัน จากการรายงานของ Food Waste Index Report 2021 โดยโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาติ (UNEP)…

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยชั้นนำผนึกกำลังพัฒนา “เทคนิคตรวจเชื้อ COVID-19 ในน้ำเสีย” ช่วยสาธารณสุขรู้ล่วงหน้า 3 สัปดาห์ก่อนระบาด

หนึ่งในวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคที่ติดต่อได้ง่ายและรวดเร็วในแต่ละชุมชนหรือแต่ละพื้นที่ ก็คือการเก็บตัวอย่างน้ำจากแหล่งน้ำเสียในชุมชน มาทำการตรวจวิเคราะห์หาปริมาณเชื้อก่อโรคเหล่านั้นด้วยวิธีการที่ถูกต้องและได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง

ม.มหิดลสร้างสรรค์ ‘Re – leaf’ กระถางจากเศษใบไม้ มุ่งพัฒนาเยาวชน – ชุมชนหัวใจสีเขียว

รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐนียา โตรักษา ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งสถาบันอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวถึงบทบาทของสถาบันอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ ว่า เป็นไปตามมาตรฐานสวนพฤกษศาสตร์ระดับโลกที่ให้น้ำหนักต่อการปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่ประชาชน ให้ได้รู้จักแสวงหาองค์ความรู้อันเป็น “ปัญญาของแผ่นดิน” ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นอกเหนือไปจากองค์ความรู้ด้านสมุนไพร และแมกไม้นานาพรรณ โดย “Re…

นศ.ฟีโบ้โชว์ผลงาน “คูลเลอร์วอทิ่ง” นวัตกรรมยืดอายุแผงโซลาร์เซลล์ ลดปริมาณขยะจากแผงโซลาร์เซลล์ในไทย

เป็นที่ยอมรับว่าการติดตั้ง “แผงโซลาร์เซลล์” กับอาคารบ้านเรือนจะเป็นการลงทุนที่ “คุ้มค่า” ในระยะยาวกับเจ้าของอาคาร  แต่ด้วยอายุการใช้งานของแผงโซลาร์เซลล์ในประเทศภูมิภาคเขตร้อนที่มีเพียง  20-25 ปี  ขณะที่ต่างประเทศที่มีอุณหภูมิต่ำจะมีอายุการใช้งานประมาณ 30-35 ปี ทำให้คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะต้องรับมือกับ “ขยะแผงโซลาร์เซลล์” ที่จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กันในปริมาณมหาศาลในอีก 20-25 ปีข้างหน้าอย่างแน่นอน

JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ชูมาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง – หนุนใช้รถ EV ลดฝุ่นได้ 10%

ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5…

มจธ. พัฒนา “ทุ่นตรวจวัดและแจ้งเตือนคุณภาพน้ำพลังงานแสงอาทิตย์” แบบเรียลไทม์ เฝ้าระวังและแจ้งเตือนการรุกล้ำของน้ำเค็มแก่เกษตรกร – ชุมชนริมคลอง

หากเอ่ยถึง ส้มบางมด ในอดีตเป็นผลไม้ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก สร้างรายได้และชื่อเสียงให้กับคลองบางมด แต่จากปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลกระทบต่อชาวสวนส้ม ทำให้ปัจจุบันสวนส้มบางมดกำลังจะเลือนหายไปจากพื้นที่ และการขาดแคลนน้ำจืดยังส่งผลกระทบโดยตรงต่อผลผลิตไม้ผลพืชสวนของเกษตรกร และสัตว์น้ำของผู้ทำประมงน้ำจืดในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ และบางขุนเทียน มากกว่า 200 ครัวเรือน ครอบคลุมพื้นที่กว่า 500…

วิศวฯ จุฬาฯ เปิดตัว CFiD แอปลดโลกร้อน ใช้ชีวิตให้ไม่รู้สึกผิดต่อโลก

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และภาวะโลกร้อน ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้คนในสังคมโลกต่างพากันปรับตัวเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

สวทช. จับมือ กทม. โชว์ต้นแบบสวนนันทนาการอากาศสะอาด แหล่งฟอกปอดแห่งใหม่ ไร้ฝุ่น PM2.5 กวนใจที่สวนจตุจักร

กรุงเทพฯ  – 24 พฤศจิกายน 2566  : ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย พรพรหม ณ.ส. วิกิตเศรษฐ์ ที่ปรึกษา…

เส้นพลาสติกรักษ์โลก จากเปลือกหอยแมลงภู่-ขยะ PLA สำหรับการพิมพ์สามมิติ ย่อยสลาย 100% นาโนเทค สวทช. ชูนวัตกรรมตอบ BCG ต้นทุนต่ำ เพิ่มการเข้าถึงเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ

นักวิจัยนาโนเทค สวทช. จับมือจุฬาฯ ต่อยอดไบโอแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยแมลงภู่ ผสมขยะพลาสติกชีวภาพ (PLA) พัฒนา “Re-ECOFILA เส้นพลาสติกรักษ์โลกสำหรับเครื่องพิมพ์สามมิติ” ย่อยสลายได้ 100% คุณภาพเทียบเท่าของที่มีในท้องตลาดในราคาที่ถูกกว่า หวังทดแทนของนำเข้าราคาสูง สร้างโอกาสการเข้าถึงเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติของนักเรียน นักศึกษาและคนทั่วไป ตอบ…

มข. มอบนวัตกรรม “ผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ภายใต้แนวคิดของเสียเป็นศูนย์” ช่วยชุมชนประหยัดค่าใช้จ่าย

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ส่งมอบนวัตกรรม “ต้นแบบการผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลวัวและมูลกระบือระดับครัวเรือน” แก่ เทศบาลตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ช่วยชุมชนประหยัดค่าใช้จ่าย และใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือภายใต้แนวคิดของเสียเป็นศูนย์ได้อย่างแท้จริง

ไบโอเทคพัฒนา “อควาเจด” นวัตกรรมสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียวต้านโรคไวรัสเพื่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปฏิวัติวงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืน

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เปิดตัวนวัตกรรมเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืน “อควาเจด” (AquaJade) ผลิตภัณฑ์สาหร่ายเซลล์เดียวเพื่อควบคุมโรคระบาด ซึ่งกำลังเป็นปัญหาที่มีความท้าทายในอุตสาหกรรมสัตว์น้ำในปัจจุบัน  โดย “อควาเจด” มีศักยภาพกระตุ้นความสามารถของอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง ช่วยจัดการกับความเสียหายจากโรคระบาดและส่งเสริมแนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active
    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์
    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
Save
m88 cá cược thể thao trực tuyến cá cược thể thao online cá cược thể thao trực tuyến trang cá độ bóng đá trực tuyến f88 cá độ