Environment | Green Network //hodgepodge-home.com Fri, 22 Mar 2024 03:25:19 +0000 en-US hourly 1 //wordpress.org/?v=6.5.3 //hodgepodge-home.com/wp-content/uploads/2021/09/green-network-50x50.png Environment | Green Network //hodgepodge-home.com 32 32 Environment | Green Network //hodgepodge-home.com/tdri-pm2-5/ //hodgepodge-home.com/tdri-pm2-5/#respond Fri, 22 Mar 2024 03:01:19 +0000 //hodgepodge-home.com/?p=32953 ทีดีอาร์ไอ ชำแหละปัญห?PM2.5 ใน กท? ?ภาคเหนือ เสนอตั้?“คกก.นโยบายฝุ่นควัน PM2.5?ทำแซนด์บ็อกภาคเหนือตอนบ?มีกม.พิเศษเหมือ?EEC first appeared on Green Network.]]> เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2567 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไท?(ทีดีอาร์ไอ) ได้เผยแพร่บทความวิชากา?เรื่อ??strong>ปัญหามลพิษจากฝุ่?PM2.5: แนวทางการป้องกันและลดการเผาในที่โล่?และร่างงบประมา???2567?โด?ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุ? สุทธิภัท?ราชค?และกำพ?ปั้นตะกั่ว นักวิจัยนโยบายเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งเนื้อหาโดยสรุปได้ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุการกำเนิ?strong>ฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่กทม. และพื้นที่อื่นโดยเฉพาะภาคเหนือ แหล่งกำเนิดฝุ่นจากประเทศเพื่อนบ้า?การจัดสรรงบประมาณในการแก้ไขปัญหาฝุ่น ในร่าง???ประมาณ 2567 ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎ?รวมทั้งข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ไขปัญหา

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

? เหตุทำเกิดฝุ่?PM2.5 ในกท? “อุณหภูมิผกผัน-มลพิษรถยนต?โรงงานรอบกรุ?ผลิตไฟจากพลังงานฟอสซิล?/h3>

​ปัญหาการเกิ?strong>ฝุ่น PM2.5 ในเขตเมืองกท? สาเหตุหลักมาจาก 4 ปัจจัย คื?1.จากปรากการณ์อุณหภูมิผกผัน (Temperature Inversion) คื?การระบายอากาศในเมืองอยู่ในอัตราต่ำกว่าปกติทำให้ชั้นอากาศเป็นฝาครอบกักอากาศที่ผิวพื้นไว้ ทำให้หมอกควันไม่เคลื่อนตั?สะสมอยู่ใกล้พื้น 2.จากปัญหาจราจรเป็นหลักในกทม. โดยเฉพาะจากพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลที่มีกระบวนการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิดเขม่าและฝุ่นควันมาก ซึ่งจากข้อมูลกรมขนส่?(?? 2566) พบว่?มียานพาหนะที่เป็นเครื่องยนต์ดีเซลในเขต กท? มากถึง 3.28 ล้านคั?(คิดเป็?7.37%ของจำนวนยานพาหนะทั้งหม? 3.การผลิตไฟฟ้าที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิ?ขณะที่สัดส่วนการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนยังมีน้อย อยู่ที่ประมา?18% ต่อพลังงานทั้งหมดเท่านั้?แล?. โรงงานกระจุกตัวในเขตกท?และปริมณฑลเป็นส่วนใหญ?โดยโรงงานทั่วประเทศมี 72,699 แห่ง แต่อยู่ในพื้นที่สมุทรปรากา?7,004 แห่ง (9.6%) สมุทรสาค?6,628 แห่ง (9.1%) กท? 5,979 แห่ง (8.2%) ชลบุรี 5,106 แห่ง (7.0%) แล?ปทุมธานี 3,460 แห่ง (4.8%) ซึ่งแม้จะมีกฎหมายและมาตรการกำกับดูแลการปล่อยมลพิษของโรงงาน อย่างจริงจังและเข้มข้นขึ้น แต่รัฐยังขาดการบังคับใช้กฎหมายด้านมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและโรงงานไฟฟ้าโดยรวมในแต่ละพื้นที่ และมาตรฐานคุณภาพอากาศของประเทศ ในการปกป้องคุ้มครองสุขภาพประชาชน และคุ้มครองพืช ป่?ความหลากหลายด้านชีวภาพ เพื่อมิให้เกิดความเสียหายและสูญเสียจากมลพิษชนิดต่างๆ

​ภาคเหนือค่าฝุ่นหนั?พบหลายสาเหต?เผาป่?การเกษตร-หวังเพิ่มงบ-บุกรุกพื้นที่ป่าโยงแนวเขต สป?

​ขณะที่วิกฤตฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ชนบ?โดยเฉพาะภาคเหนือสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากภูมิประเทศที่มีลักษณะเหมือนแอ่งกระทะ แต่สาเหตุที่สำคัญที่สุดมาจากการเผาด้วยฝีมือมนุษย?ในเขตพื้นที่ชนบทการเกิดหมอกควันมาจากการเผาไหม้ในป่ามากที่สุด รองลงมาคือการเผาเศษวัสดุการเกษตรในไร่น?ซึ่งมีข้อมูลระบุว่าพืนที่ที่พบการเผาซ้ำซากเป็?10 ปี มีมากกว่?5.8 แสนไร่

ทั้งนี้การเผาป่ามีสาเหตุเชิงซ้อนหลายด้า?ทั้งมิติ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิอากา?สภาพเศรษฐกิ?สังค?การเมือง ตลอดจนนโยบายและมาตรการของรัฐด้านการใช้ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ฯ  นอกจากการเผาเพื่อหาของป่า เพราะความยากจ?และการเผาเพื่อขยายพื้นที่การเกษตรแล้ว ยังพบว่ามีการเผาป่าเพื่อหวังเพิ่มงบประมาณของบางหน่วยงาน หรือเผาเพื่อกลั่นแกล้งเจ้าหน้าที่รั?และที่สำคัญน่าจะเป็นการเผาเพื่อบุกรุกพื้นที่ป่า ซึ่งการเปิดเผยเรื่องแนวเขตสป?ในพื้นที่อุทยานเขาใหญ่ของชัยวัฒน?ลิ้มลิขิตอักษร ทำให้เข้าใจถึงมูลเหตุเบื้องหลังของการเผาป่ารอบเขตอุทยาน ว่าเป็นการทำให้พื้นที่ป่าอุทยานบางส่วนกลายเป็นป่าเสื่อมโทรมที่เข้าหลักเกณฑ์ของสปก.ที่จะนำมาจัดสรรให้คนยากจนได้

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

​“กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการบางคน นายทุนและนักการเมืองผู้มีอิทธิพลแม?one map(การปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณากา?มาตราส่ว?1 : 4000)  ที่ริเริ่มตั้งแต่ป?2559 จะเป็นทางแก้ไขที่น่าจะได้ผล แต่ประสบการณ์จัดทำ one map ที่ผ่านมาพิสูจน์ชัดว่าหากปราศจากความกล้าหาญของรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีในการแก้ปัญหาโดยไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ของพรรคพวก one map ก็คงไร้ความหมา?เราคงเห็นแค่การยุติความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานรัฐโดยไม่มีการแก้ไขปัญหาเผาป่าอุทยานเพื่อยึดครองที่ดินอย่างจริงจั?/p>

​ทั้งนี้แนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่า?รัฐบาลควรนำประสบการณ์ของภาคเอกชน ภาคประชาสังคมที่ประสบความสำเร็จในแก้ปัญหาการเผาป่าชุมชน ด้วยการทำมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนทั้งที่อาศัยอยู่ใกล้ป่าอุทยานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามีบทบาทการอนุรักษ์พื้นที่ป่?สำหรับเกษตรกรบนที่สูงที่ปลูกข้าวโพดและจำเป็นต้องเผาตอซั?รัฐควรแสวงหาอาชีพทางเลือกที่คุ้มค่ากว่า เช่?การเปลี่ยนระบบการเกษตรเป็นแบบยั่งยื?การขายคาร์บอนเครดิ?แต่รัฐบาลต้องเร่งจัดทำนโยบายภาษีคาร์บอนภาคบังคับก่อน ขณะที่ไร่อ้อยนั้?ควรมีมาตรการให้เงินอุดหนุนการตัดอ้อยสดโดยไม่เผา 120 บาทต่อตั?กับการที่โรงงานน้ำตาลสนับสนุนให้หัวหน้าโควต้าอ้อ?เป็นผู้ให้บริการตัดอ้อย และอัดใบอ้อย โดยรับซื้อก้อนใบอ้อยที่เป็นเชื้อเพลิงชีวมวลจากชาวไร่อ้อ?ซึ่งเป็นมาตรการที่มีประสิทธิผ?เพราะลดพื้นที่การเผาไร่อ้อยได้อย่างจริงจัง แต่น่าเสียดายที่รัฐบาลไม่มีมาตรการอุดหนุนการตัดอ้อยสดในฤดูตัดอ้อยปี 2567 ทำให้มีการเผาไร่อ้อยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคั?/p>

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

​ห่วงฝุ่นจากประเทศเพื่อนบ้าน ยากต่อการจัดการ

​บทความชิ้นนี้ยังระบุถึง แหล่งเกิ?strong>ฝุ่น PM2.5 จากนอกประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศเมียนมาร์ ลา?และกัมพูชา ว่?ฝุ่น PM2.5 จากการเผาในที่โล่?ไม่ได้เกิดขึ้นแต่ภายในจังหวัด แต่มีกระแสลมพัดพามาทั้งจากจังหวัดใกล้เคียงและจากประเทศเพื่อนบ้า?แอ่งฝุ่นควัน PM2.5 นี้เรียกว่?“airshed?ซึ่งถือเป็นแหล่งเกิดมลพิษที่ยากต่อการจัดการสำหรับไทยมากที่สุด  โดยฝุ่นที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านเกิดจากการเผาพื้นที่น?ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ้อ?โดยเฉพาะการเผาพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเมียนมาร์ ที่ไทยนำเข้าปริมาณมากขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ป?2562 และการเผาป่าเพื่อลักลอบปลูกมันสำปะหลังเพื่อการส่งออกของประเทศลา?/p>

​ชี้ จุดอ่อ?งบแก?PM2.5 กระจุกตัวสูง ปภ.หน่วยงานเดียวได?89% – บริหารจัดการแยกส่ว?/h3>

​บทความยังระบุด้วยว่?หลักฐานเชิงประจักษ์ที่แสดงจุดอ่อนของการจัดทำนโยบายและระบบการบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5 มีด้วยกั?3 ส่วน คื?1.การจัดสรรงบประมาณป?2567เพื่อดำเนินการตามนโยบายป้องกันและลดปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5ที่พบว่ากระจุกตัวสูงมา?โดยป?ได้รับงบประมาณ คิดเป็?89.2 % ของงบประมาณด้า?PM 2.5 ทั้งหม?สะท้อนแนวคิดของรัฐในการแก้ปัญห?PM 2.5 ที่ยังเชื่อว่าปัญหาฝุ่น PM 2.5 เป็นปัญหาสาธารณภั?ทั้งๆที่ในข้อเท็จจริงเป็นปัญหาโครงสร้างด้านเศรษฐกิ?สังค?ธรรมาภิบาล ที่สลับซับซ้อน นอกจากนี้งบประมาณเกือบทั้งหม?(96.2%) ตกอยู่กับหน่วยราชการส่วนกลางมีเพียง 11 จังหวัดและ 2 กลุ่มจังหวัดที่ได้รับงบประมาณเพียง 1.24% 2.ปัญหาโครงสร้างการบริหารจัดการแบบแยกส่ว?การตั้งคณะกรรมการเพื่อแก้ไขปัญหาไม่มีความต่อเนื่อ?แล?3.ปัญหาด้านข้อมู?/p>

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

​เปิดข้อเสน?6 ข้?ชงตั้ง “คกก.นโยบายฝุ่นควัน PM2.5?มีอำนาจเต็มแก้ปัญห?-เร่งแก้กม. ออกกลไกใหม?-ทำแซนด์บ็อกภาคเหนือตอนบ?-จับมือเพื่อนบ้านคุมเผาในที่โล่?/h3> ​นักวิชาการทีดีอาร์ไ?มีข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาดังนี้
  1. ควรการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายฝุ่นควั?PM2.5 (ที่เป็นฝ่ายการเมือง)และจัดตั้งหน่วยงานหลักทำหน้าที่เป็นศูนย์การบริหารจัดการPM2.5 แบบมืออาชี?โดยได้รับมอบอำนาจเต็?เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการร่วมแก้ปัญหากับหน่วยงานที่มีหน้าที่ต่าง?และรวบรวมข้อมู?big data  ถอดบทเรียน วิเคราะห์ติดตาม ประเมินผ?และปรับปรุงแผน รวมทั้งจัดทำงบประมาณบูรณาการและอาจมีความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้งกองทุนขึ้นในหน่วยงานนี้ เพราะในบางกรณีงบประมาณของรั?อาจไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดในการใช้จ่า?/li>
  2. เร่งรัดการแก้ไขกฎหมาย เพื่อให้มีเครื่องมือใหม่ด้านเศรษฐกิ?สังค?สิ่งแวดล้อ?ในการป้องกันและลดปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 (เช่นการใช้ราคาและเงินอุดหนุนเป็นแรงจูงใ? บทลงโท?  เร่งออกกฎหมายภาษีคาร์บอนภาคบังคับ
  3. จัดทำโครงการทดลองรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการแก้ปัญห?PM2.5 (sand box) ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบ?โดยรวมกลุ่มจังหวัดที่คาดว่าอยู่ในพื้นที่แอ่งฝุ่น PM2.5 เดียวกั?(airshed กล่าวคือ การเผาป่าหรือพื้นที่เกษตรในจังหวัดทำให้ฝุ่นพัดข้ามแดนไปยังจังหวัดใกล้เคียง) มีการตรากฎหมายพิเศษแบบเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออ?(EEC) ที่ให้อำนาจพิเศษในการดำเนินงานแก่หน่วยงานหลักตามข้อเสนอที่ 1 แต่มีกระบวนทำงานจากล่างสู่บน  เน้นกระจายอำนาจให้มากทุ่ด ควรมีภาคเอกชนภาคประชาสังค?และวิชาการในพื้นที่เข้าร่วมให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนปฏิบัติกา?ส่วนหน่วยงานรัฐส่วนกลางเป็นผู้สนับสนุนในด้านทรัพยากร กำลังค?ข้อมูล และคำแนะนำด้านกฎระเบียบและวิชาการ
  4. การจัดทำข้อมูล big data รวมทั้งขอความร่วมมือจากธนาคารโลกในการศึกษาและระบุพื้นที่ airshed ในพื้นที่ชายแดนของประเทศเพื่อนบ้า?ที่มีกิจกรรมเผาในที่โล่งและฝุ่นควัน PM2.5พัดเข้ามาในพื้นที่ภาคเหนือ และรอบกท?
  5. บูรณาการงบประมาณของหน่วยงานส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น
  6. มีนโยบายร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการกำหนดมาตรการลดการเผาในที่โล่?หรือการปรับเปลี่ยนระบบการเกษตรเป็นแบบยั่งยื?ทั้งนี้ข้อควรระวังคื?ไทยเป็นสมาชิ?WTO และต้องทำตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ดังนั้นไม่สามารถเปิดปิดประตูการค้าตามอำเภอใจ โดยขัดกับหลักการ most favored nation (หลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์อย่างยิ่? ขอ?WTO

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

The post ทีดีอาร์ไอ ชำแหละปัญห?PM2.5 ใน กท? ?ภาคเหนือ เสนอตั?“คกก.นโยบายฝุ่นควัน PM2.5?ทำแซนด์บ็อกภาคเหนือตอนบ?มีกม.พิเศษเหมือ?EEC first appeared on Green Network.]]> //hodgepodge-home.com/tdri-pm2-5/feed/ 0 Environment | Green Network //hodgepodge-home.com/%e0%b8%ad%e0%b8%b8%e0%b8%95%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%ab%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%8a%e0%b8%b4%e0%b8%87%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b9%80%e0%b8%a7%e0%b8%a8/ //hodgepodge-home.com/%e0%b8%ad%e0%b8%b8%e0%b8%95%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%ab%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%8a%e0%b8%b4%e0%b8%87%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b9%80%e0%b8%a7%e0%b8%a8/#respond Tue, 03 Nov 2020 03:16:23 +0000 //hodgepodge-home.com/?p=14835 กน? ปลื้?34 นิคม?ยกระดับสู่เมืองอุตสาหกรรมเชงนิเวศ ตั้งเป้?5 ปี มีนิคม?ผ่านเกณฑ์เพิ่มอี?5 แห่งทั่วประเทศ first appeared on Green Network.]]> การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท?(กน?) เผยผลการตรวจประเมินการเป็นนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดับต่างๆ พร้อมจัดพิธีมอบรางวัลให้กั?ผู้ผ่านเกณฑ์ภายในงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2563 “Eco Innovation Forum 2020?ทุกนิคมฯ มีส่วนร่วมพัฒนาเมือง?ผ่าน 5 มิติ 22 ด้าน สอดรับ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ที่เน้นใช้ทรัพยากรน้อยแต่ได้ผลตอบแทนคุ้มค่?ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนรอบข้าง กางแผนภายใ?5 ปีต้องมีนิคมอุตสาหกรรมที่ผ่านเกณฑ์การชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพิ่มขึ้น 5 แห่งทั่วประเทศ

สมจิณณ?พิลึ?/strong> ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไท?(กน?) กล่าวว่า กน? ได้กำหนด มาตรฐานและเกณฑ์ตัวชี้วัดการเป็?strong>เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน 5 มิติ 22 ด้าน ด้วยการสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมปรับตัวและใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในสถานประกอบกา?เช่?การนำน้ำเสียที่โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยทิ้งมาบำบัดแล้วนำมาผลิตน้?RO (Reverse Osmosis) และนำกลับมาใช้ใหม่แทนน้ำประป?ซึ่งเป็นการลดต้นทุนการผลิ?เพิ่มรายได้ให้กับผู้ประกอบการ การนำเศษ วัสดุเหลือใช้จากการประกอบกิจการโรงงานไปเพิ่มมูลค่า ด้วยการนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่น เช่?นำเศษขยะทั่วไปในนิคมอุตสาหกรรมไปแปลงเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาปูนซีเมนต์ หรือนำตะกอนจากโรงงานไปทำปุ๋ยหมักชีวภาพให้กับเกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงได้ใช้ประโยชน์ รวมทั้งส่งเสริมการสร้างอาชีพจากวัสดุเหลือใช้จากการประกอบกิจการมาดัดแปลงให้เป็นสินค้าที่มีมูลค่าสร้างรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมกลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชในพื้นที่ให้มีการประกอบกิจการที่มีผลกำไ?โดยที่ผ่านมาวิสาหกิจชุมชนสามารถทำรายได้เป็นเงินหมุนเวียน ให้กับสมาชิกในกลุ่มได้อย่างเป็นรูปธรรม

?strong>แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เน้นการสร้างความสมดุลระหว่างปัจจั?ด้านเศรษฐกิ?สังค?และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสี?โรงงานอุตสาหกรรมและชุมชนท้องถิ่น โด?กน? ได้กำหนดคุณลักษณ?มาตรฐานและเกณฑ์ตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศไว้ใ?5 มิติ 22 ด้าน โดยแบ่งการยกระดับความเป็?strong>เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมีใน 3 ระดั?ประกอบด้วย ระดั?Eco-World Class/Eco-Excellence แล?Eco-Champion ตามลำดับ ซึ่งหากนิคมฯ ที่ผ่านเกณฑ์และยกระดับเป็?Eco-World Class แล้ว ต้องรักษาระดับการเป็?Eco-Excellence แล?Eco-Champion อย่างต่อเนื่อ?ด้วยการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการมี ส่วนร่วม โด?กน? มีแผนแม่บทที่ใช้เป็นแผนปฏิบัติการแนวทางการเป็?strong>นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในทุกระดับ โดยตั้งเป้าภายใน 5 ปี (?? 2564-?? 2568) จะต้องมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ผ่านการตรวจประเมินการเป็นนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพิ่มขึ้นอี?5 แห่งทั่วประเทศ?ผู้ว่า กน? กล่า?/p>

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

สำหรับปีนี?มีนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรองเป็?strong>เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดั?Eco-Champion จำนว?34 แห่ง และใ?34 แห่ง ได้ยกระดับสู่การเป็?Eco-Excellence จำนว?13 แห่ง และใ?Eco-Excellence ได้ยกระดับสู่การเป็?Eco-World Class จำนว?3 แห่ง นอกจากนี้ยังมีนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศได้รับการพัฒนาต่อยอดสู่การเป็?strong>นิคม/ท่าเรืออุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 4.0 จำนว?3 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 4.0 จำนว?5 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Factory) จำนว?29 แห่ง และโรงงานที่สนับสนุน การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 35 แห่ง พร้อมกันนี้ได้มีการมอบประกาศนียบัตรให้ั?โรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับการรับรอง Water Footprint อี?7 แห่ง

ด้าน สุพันธ?มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท?(???) กล่าวว่า ปัจจุบันเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุค Digital Transformation ไม่ว่าจะเป็นการนำเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามาใช้ในการทำธุรกรรมต่าง?ทั้งการทำงาน การผลิ?การซื้อขายแลกเปลี่ยน แล?การดำเนินทุกกิจกรรมทางเศรษฐกิ?โดยภาครัฐต้องให้การสนับสนุนภาคการผลิตและธุรกิจ ที่เร่งปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะธุรกิจในอนาคตที่จะมีบทบาทมากขึ้น คื?ไอทีและดิจิทัล การค้าขายที่จะเปลี่ยนรูปแบบเป็นออนไลน์ E-Commerce มากขึ้?ธุรกิจการเงินที่จะก้าวสู่สังคมไร้เงินสดมากขึ้น เนื่องจากสังคมไทยจะก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบ?ซึ่งสถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยื?สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท?ได้ให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลทางด้านเศรษฐกิ?สังค?และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกับชุมชน สังคมอย่างยั่งยื?โดยได้นำแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy พร้อมส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการให้ดำเนินธุรกิจด้วยธรรมาภิบา?มีความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อ?และมีความรู้ด้านการบริหารจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมแบ?Smart System เช่?การนำระบ?Internet of Things (IoT) มาประยุกต์ใช?เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้?ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการข่งขันได้


Source: นิตยสา?Green Network ฉบับที?101 กันยาย?ตุลาคม 2563 คอลัมน?Environment โด?กองบรรณาธิกา?/p>The post กน? ปลื้?34 นิคม?ยกระดับสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตั้งเป้?5 ปี มีนิคม?ผ่านเกณฑ์เพิ่อี?5 แห่งทั่วประเทศ first appeared on Green Network.]]> //hodgepodge-home.com/%e0%b8%ad%e0%b8%b8%e0%b8%95%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%ab%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%8a%e0%b8%b4%e0%b8%87%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b9%80%e0%b8%a7%e0%b8%a8/feed/ 0 Environment | Green Network //hodgepodge-home.com/%e0%b9%81%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%84%e0%b8%b4%e0%b8%94-green-tourism-building-back-better/ //hodgepodge-home.com/%e0%b9%81%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%84%e0%b8%b4%e0%b8%94-green-tourism-building-back-better/#respond Wed, 26 Aug 2020 02:50:07 +0000 //hodgepodge-home.com/?p=14088 นักวิชาการชูแนวคิด Green Tourism แล?Building Back Better จัดการทรัพยากรธรรมชาติหลัง COVID-19 first appeared on Green Network.]]> การแพร่ระบาดขอ?COVID-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังค?แต่สำหรับด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาต?การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งเชิงลบและเชิงบวก โดยผลกระทบเชิงลบจากวิกฤตการณ์ COVID-19 ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะหน้ากากอนามั?ขยะติดเชื้อ รวมถึงขยะพลาสติกจากการให้บริการฟู้ดเดลิเวอรี?ในขณะที่ผลกระทบเชิงบวกช่วงที่มีการล็อกดาวน์และจำกัดการเดินทางทั้งของประชาชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ย?ได้แก่ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดล?ทรัพยากรธรรมชาติ เช่?ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์ทะเ?ปะการั?ฯล?ได้รับการฟื้นฟ?/strong>

บทความนี้จะให้ความสำคัญกับผลกระทบของการแพร่ระบาดขอ?COVID-19 ต่อทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระยะสั้นและในระยะยา?รวมถึงให้ข้อเสนอแนะแนวทางการจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในระยะยาวหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดขอ?COVID-19 สิ้นสุดล?/p>

การลดลงของปริมาณนักท่องเที่ย?และมาตรการปิดพื้นที่อุทยานช่วยให้ธรรมชาติได้ฟื้นตั?/h2>

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ส่งผลกระทบต่อจำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไท?โดยพบว่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติระหว่างช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายนลดลงจาก 13.99 ล้านคนในปี ?? 2562 เหลือ 6.69 ล้านคนในช่วงเวลาเดียวกันในป??? 2563 หรือลดลงประมาณ 52.17% (กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) โดยการลดลงของจำนวนนักท่องเที่ยวมาจากหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่สำคั?ได้แก่ มาตรการจำกัดการเดินทาง ทั้งการเดินทางข้ามประเทศและการเดินทางระหว่างจังหวัด มาตรการปิดแหล่งท่องเที่ย?ฯล?/p>

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

สำหรับประเทศไท?กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ประกาศปิดพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวในสังกัดของกระทรวงฯ1 ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติกว่า 148 แห่งทั่วประเทศ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่?36 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 48 แห่ง โดยวัตถุประสงค์สำคัญคื?เพื่อลดกิจกรรมการท่องเที่ยวที่คนจะมารวมตัวกันเป็นจำนวนมา?ซึ่งอาจเพิ่มโอกาสในการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

ในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอินเดี?พบสัตว์ป่าและสัตว์ทะเลหายากบ่อยครั้งขึ้นในช่วงที่มีการแพร่ระบาดขอ?COVID-19

เมื่อพื้นที่อุทยา?ป่?ภูเขา ทะเ?หรือเกา?ปราศจากนักท่องเที่ยวธรรมชาติมีโอกาสได้รับการฟื้นฟ?ตัวอย่างเช่?การปิดอุทยานแห่งชาติในประเทศสหรัฐอเมริก?ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ของอุทยานฯ มีการพบเห็นสัตว์ป่?เช่?หมีด?กวาง แมวบอบแค?และหมาป่าไคโยตี้ บ่อยครั้งขึ้?span style="color: #ff0000;">2 สำหรับประเทศอินเดี?พบว่ามีเต่าทะเลสายพันธุ์ Olive Ridley ซึ่งเป็นสัตว์ทะเลใกล้สูญพันธุ์ตามบัญชีแดงของ IUCN Red List นับแสนตัวขึ้นมาวางไข่บนหาด Gahirmatha และหาด Rushikulya ซึ่งอยู่ในรั?Orissa ในช่วงที่ปิดไม่ให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ที่ผ่านม?มีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่บริเวณดังกล่าวค่อนข้างน้อย เพราะมีเรือประมง เรืนำเที่ย?และนักท่องเที่ยวเข้าออกบริเวณดังกล่าวอย่างหนาแน่น ซึ่งรบกวนเส้นทางหากินของเต่าทะเลชนิดนี้

ทรัพยากรทางธรรมชาติทั้งทางบกและทางทะเลของไท?มีโอกาสฟื้นตัวในระยะสั้น

หลังจากที่มีการปิดอุทยานแห่งชาติและไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวเข้าชมพื้นที่ในเขตอุทยาน?ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 พบว่าทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศได้รับการฟื้นตัว เช่?ในอุทยานภูซา?จังหวัดพะเยา พบว่าพืชพันธุ์ไม้หายากกลับมาเจริญงอกงามอย่างรวดเร็?สัตว์ป่าต่าง?เช่?หมูป่า กระรอกบิ?ผีเสื้อชนิดต่าง?นกนานาชนิดที่ไม่ค่อยปรากฏตัวให้เห็?สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้?span style="color: #ff0000;">3 นอกจากนี้ทรัพยากรทางทะเลในหลายพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีโอกาสฟื้นตัวอย่างเห็นได้ชั?อย่างน้อยในระยะสั้?โดยเฉพาะปะการังและหญ้าทะเ?/p>

สาเหตุหนึ่งที่การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ทรัพยากรทางทะเลเหล่านี้ฟื้นตัวคื?การปล่อยน้ำเสียจากแหล่งชุมชนและโรงแรมที่พักตลอดแนวชายฝั่งลดล?ส่งผลให้คุณภาพน้ำทะเลดีขึ้?ทำให้ปะการังและหญ้าทะเลฟื้นตัวและเติบโตดีขึ้?นอกจากนี?คุณภาพน้ำทะเลที่ดีขึ้นและการลดการรบกวนจากกิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวลดลง อย่างไรก็ด?ปะการังบางชนิดอาจจะใช้ระยะเวลานานในการฟื้นตัว แต่ในช่วงที่มีการระงับการท่องเที่ย?ปะการังเหล่านี?/p> สาเหตุหนึ่งที่การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ทรัพยากรทางทะเลเหล่านี้ฟื้นตัวคื?การปล่อยน้ำเสียจากแหล่งชุมชนและโรงแรมที่พักตลอดแนวชายฝั่งลดล?ส่งผลให้คุณภาพน้ำทะเลดีขึ้?ทำให้ปะการังและหญ้าทะเลฟื้นตัวและเติบโตดีขึ้?นอกจากนี?คุณภาพน้ำทะเลที่ดีขึ้นและการลดการรบกวนจากกิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวลดลง อย่างไรก็ด?ปะการังบางชนิดอาจจะใช้ระยะเวลานานในการฟื้นตัว แต่ในช่วงที่มีการระงับการท่องเที่ย?ปะการังเหล่านี้ก็จะมีการก่อตัวและงอกใหม่ สำหรับสัตว์ทะเ?เช่?เต่ามะเฟือง พะยู?ปลาโลมาอิรวด?และปลาฉลามหูดำ มีคนพบเห็นสัตว์ทะเลเหล่านี้บ่อยครั้งขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่มีการปิดอุทยานแห่งชาติทางทะเ?23 แห่ง สืบเนื่องจากวิกฤตการณ์ COVID-19

เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาต?หลังจากเริ่มมีมาตรการคลายล็อกดาวน์

หลังจากที่มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน?สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่งเริ่มเปิดรับนักท่องเที่ยวอีกครั้?ในกรณีของประเทศเวียดนา?หลังจากที่รัฐบาลเวียดนามคลายล็อกข้อจำกัดการเดินทางภายในประเทศ มีชาวเวียดนามจำนวนมากแห่ไปเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยเฉพาะสถานที่ที่มีทัศนียภาพที่งดงา?เช่?อ่าวฮาลอ?เป็นต้น สำหรับประเทศสหรัฐอเมริก?หลังจากที่อุทยานแห่งชาติบางแห่งเริ่มเปิดทำการ เช่?Everglades National Park ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของรั?Florida และเปิดทำการในวันที่ 4 พฤษภาค??? 2563 ผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความกังวลว่าการเปิดให้นักท่องเที่ยวจำนวนมากเข้าไปในอุทยานแห่งชาต?เสียงจากกลุ่มนักท่องเที่ยวอาจรบกวนสัตว์ป่?นอกจากนี?สัตว์ป่าที่เคยออกมาหาอาหารกินบริเวณถนนช่วงที่อุทยาน?ปิ?อาจเสี่ยงต่อการถูกรถยนต์ของนักท่องเที่ยวชนจนได้รับบาดเจ็บอีกด้วย4

สำหรับผลกระทบระยะยาว ประเด็นสำคัญที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก่ประเด็นเรื่องการส่งเสริมและเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวโดยไม่คำนึงถึงความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ของแหล่งท่องเที่ย?(Overtourism) ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยทางธรรมชาติ (Habitat Destruction) การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) ฯล?/p>

1xbet casino downloadLin k?t ??ng nh?p

นำแนวคิด Green Tourism แล?Building Back Better มาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หลัง COVID-19

หลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 สิ่งสำคัญที่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเร่งดำเนินการเพื่อวางแผนระยะยาวในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมี 4 เรื่อ?คื?1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมควรเดินหน้าดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วน ทั้งประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวมีความรู้ ความตระหนั?และเห็นความสำคัญของการดูแลและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาต?ทั้งป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์ทะเ?ทรัพยากรทางทะเ?ฯล?โดยอาจร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการในการสอดแทรกประเด็นเหล่านี้ไว้ในหลักสูตรตั้งแต่ระดับประถมศึกษา และร่วมมือกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาในการให้ข้อมูลและสร้างความตระหนักให้กับนักท่องเที่ย?2. การดำเนินมาตรการเพื่อแก้ปัญหา Overtourism ในระยะยา?span style="color: #ff0000;">5 เช่?การจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยวที่สามารถเข้าไปยังแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในช่วงเวลาต่างๆ โดยในเมืองอัมสเตอร์ดัมประเทศเนเธอร์แลนด?มีการนำแอปพลิเคชันมาใช้ในการแจ้งเตือนเมื่อมีนักท่องเที่ยวหนาแน่นในแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถปรับเปลี่ยนแผนเพื่อมาเยือนแหล่งท่องเที่ยวในช่วงเวลาอื่?หรือมาตรการปิดแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติเพื่อให้ธรรมชาติบริเวณแหล่งท่องเที่ยวได้รับการฟื้นฟู ซึ่งแนวทางนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินการในบางพื้นที่อยู่แล้ว แต่ควรมีการพิจารณาต่อยอดหรือขยายผลไปยังแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อื่น?ต่อไ?3. ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และมีขุมทรัพย์ด้านการท่องเที่ยวจำนวนมา?เนื่องจากแต่ละภูมิภาคของประเทศมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลา?ทั้งภูเขา ทะเ?ฯล?ดังนั้นประเทศไทยควรพลิกวิกฤ?COVID-19 ให้เป็นโอกาสในการปรับเปลี่ยนและยกเครื่องกลยุทธ์ในการดึงดูดนักท่องเที่ย?โดยปรับเปลี่ยนจากการท่องเที่ยวแบบที่เน้นการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวเป็นการท่องเที่ยวเชิงคุณภา?(Quality Tourism) เช่?การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อ?span style="color: #ff0000;">6 ใช้ทรพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่?เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติและเกิดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควรบูรณาการการทำงานร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนแนวคิดดังกล่าวให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม

สุดท้ายควรมีการส่งเสริมการนำแนวคิ?“Building Back Better?ซึ่งเป็นแนวคิดที่ใช้ในการจัดการภัยพิบัติมาใช้ โดยหลักการภายใต้แนวคิดดังกล่าวคือการบริหารจัดการเพื่อให้สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติหลังสถานการณ?COVID-19 สิ้นสุดลงดีกว่?ช่วงที่เกิ?COVID-19 เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศมีความยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกันในการรับมือกั?Shock ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต


Source: นิตยสา?Green Network ฉบับที?100 กรกฎาค?สิงหาค?2563 คอลัมน?Environment
โด?ประมณฑ?กาญจนพิมลกุล, ดร.กรรณิการ?ธรรมพานิชวงค?/p>

* ข้อเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งขอ?“TDRI Policy Series on Fighting Covid-19?br /> ภา? กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่?/p>

1 ที่ม? //www.ryt9.com/s/prg/3116132
2 ที่ม? //www.theguardian.com/environment/2020/may/21/wildlife-national-parks-covid-19-shutdown-death-valley
3 ที่ม? //www.posttoday.com/social/local/624223
4 ที่ม? //www.nbcnews.com/news/us-news/nationalpark-closings-gave-wildlife-room-roam-rangers-advisecaution-n1208216
5 ที่ม? //www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Southern/ReasearchPaper/Overtourism.pdf
6 ที่ม? //www.thaipost.net/main/detail/64337

The post นักวิชาการชูแนคิด Green Tourism แล?Building Back Better จัดการทรัพยากรธรรมชาติหลัง COVID-19 first appeared on Green Network.]]>
//hodgepodge-home.com/%e0%b9%81%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%84%e0%b8%b4%e0%b8%94-green-tourism-building-back-better/feed/ 0